Post by พงศ์ on Feb 25, 2023 17:26:09 GMT 7
ที่มา wikisource
๕. ธาตุ (ข้อกำหนดการพิจารณาธาตุทั้ง ๔)
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง ยะถาฐิตัง ยะถาปะณิหิตัง ธาตุโส ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายอันตั้งอยู่ตามที่ตั้งอยู่ตามปกตินี่แล โดยความเป็นธาตุว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ. ธาตุดิน ธาตุน้ำ,
เตโชธาตุ วาโยธาตุ. ธาตุไฟ ธาตุลม,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด,
ทุกโข โคฆาตะโก วา โคฆาตะกันเตวาสี วา. คนฆ่าโค หรือลูกมือของคนฆ่าโคผู้ฉลาด,
คาวิง วะธิตวา. ฆ่าแม่โคแล้ว,
จาตุมมะหาปะเถ วิละโส ปะฏิวิภะชิตตะวา นิสินโน อัสสะ. พึงแบ่งออกเป็นส่วน แล้วนั่งอยู่ที่หนทางใหญ่ ๔ แพร่ง,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นนั่นแล ภิกษุ,ฯ
อิมะเมวะ กายัง ยะถาฐิตัง ยะถาปะณิหิตัง ธาตุโส ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากาย อันตั้งอยู่ตามที่ตั้งอยู่ตามปกตินี้นี่แล โดยความเป็นธาตุว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ. ธาตุดิน ธาตุน้ำ,
เตโชธาตุ วาโยธาตูติ. ธาตุไฟ ธาตุลม,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปะทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้,ฯ
ธาตุปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยธาตุ
เอวัมเม สุตัง. อันข้าพเจ้า (พระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้,
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา กุรูสุ วิหะระติ, กัมมะสะธัมมัง นามะ กุรูนัง. สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ในหมู่ชนชาวกุรุ ชื่อกัมมาสธัมมะ,
ตัตตระโข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ในกาลนั้นแลพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเตือนภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายดังนี้,
ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ทูลรับพระพุทธพจน์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระเจ้าข้า ดังนี้,
ภะคะวา เอตะทะโวจะ. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสพุทธภาษิตนี้ว่า,
เอกายะโน อะยัง ภิกขะเว มัคโค สุตตานัง วิสุทธิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นที่ไปอันเอก (เป็นที่ไปของบุคคลผู้เดียว เป็นที่ไปในที่แห่งเดียว) เพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย,
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ. เพื่อความก้าวล่วง ซึ่งความโศกและความร่ำไร,
ทุกขะโทมะนัสสานัง อัฏฐังคะมายะ. เพื่อความอัสดงค์ดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส,
ญายัสสะ อธิคะมายะ. เพื่อบรรลุญายธรรม (ธรรมที่ควรรู้ ธรรมที่ถูก คือ อริยมรรค),
นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ. เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง,
ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานา. ทางนี้คือสติปัฏฐาน (ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ) ๔ อย่าง,
กะตะมา จัตตาโร. สติปัฏฐาน ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง?,
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัส (ความยินดียินร้าย) ในโลกเสียให้พินาศ,
เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนืองๆ,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
อุทเทโส จบอุทเทส
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา กุรูสุ วิหะระติ, กัมมะสะธัมมัง นามะ กุรูนัง. สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ในหมู่ชนชาวกุรุ ชื่อกัมมาสธัมมะ,
ตัตตระโข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ในกาลนั้นแลพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเตือนภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายดังนี้,
ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ทูลรับพระพุทธพจน์ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระเจ้าข้า ดังนี้,
ภะคะวา เอตะทะโวจะ. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสพุทธภาษิตนี้ว่า,
เอกายะโน อะยัง ภิกขะเว มัคโค สุตตานัง วิสุทธิยา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นที่ไปอันเอก (เป็นที่ไปของบุคคลผู้เดียว เป็นที่ไปในที่แห่งเดียว) เพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย,
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ. เพื่อความก้าวล่วง ซึ่งความโศกและความร่ำไร,
ทุกขะโทมะนัสสานัง อัฏฐังคะมายะ. เพื่อความอัสดงค์ดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส,
ญายัสสะ อธิคะมายะ. เพื่อบรรลุญายธรรม (ธรรมที่ควรรู้ ธรรมที่ถูก คือ อริยมรรค),
นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ. เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง,
ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานา. ทางนี้คือสติปัฏฐาน (ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ) ๔ อย่าง,
กะตะมา จัตตาโร. สติปัฏฐาน ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง?,
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัส (ความยินดียินร้าย) ในโลกเสียให้พินาศ,
เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาเนืองๆ,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมเนืองๆอยู่,
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา. มีความเพียรให้กิเลสเร่าร้อน มีสัมปชัญญะ มีสติ,
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. พึงนำอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียให้พินาศ,
อุทเทโส จบอุทเทส
๑. อานาปาน (ข้อกำหนดการพิจารณาลมหายใจ)
กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ กเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่เนืองๆ อย่างไรเล่า?,
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้,
อะรัญญะคะโต วา. ไปแล้วสู่ป่าก็ดี,
รุกขะมูละคะโต วา. ไปแล้วสู่โคนไม้ก็ดี,
สุญญาคาระโต วา. ไปแล้วสู่เรือนว่างเปล่าก็ดี,
นิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิตตะวา. นั่งคู้บัลลังก์,
อุชุ กายัง ปะณิธายะ. ตั้งกายให้ตรง,
ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตตะวา. ดำรงสติเฉพาะหน้า,
โส สะโต วา อัสสะสะติ. เธอย่อมมีสติหายใจเข้า,
สะโต ปัสสะสะติ. ย่อมมีสติหายใจออก,
ทีฆัง วา อัสสะสันโต. เมื่อหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง วา ปัสสะสันโต. หรือเมื่อหายใจออกยาว,
ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว,
รัสสัง วา อัสสะสันโต. เมื่อหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง วา ปัสสะสันโต. หรือเมื่อหายใจออกสั้น,
รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจเข้า,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจออก,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร (คือลมอัสสาสะปัสสาสะ) หายใจเข้า,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออก,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว ทุกโข ภะมะกาโร วา ภะมะการันเตวาสี วา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด นายช่างกลึง หรือลูกมือของนายช่างกลึงผู้ฉลาด,
ทีฆัง วา อัญฉันโต ทีฆัง อัญฉามีติ ปะชานาติ. เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่าเราชักเชือกกลึงยาว,
รัสสัง วา อัญฉันโต รัสสัง อัญฉามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อชักเชือกกลึงสั้น ก็รู้ชัดว่า เราชักเชือกกลึงสั้น,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุก็ฉันนั้น นั่นแลฯ,
ทีฆัง วา อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. เมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง วา ปัสสะสันโต ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว,
รัสสัง วา อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง วา ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจเข้า,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจออก,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับ กายสังขาร หายใจออก,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้แลฯ,
อานาปานะปัพพัง. จบข้อกำหนดด้วยลมหายใจเข้าออก.
กะถัญจะ ภิกขะเว ภิกขุ กเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่เนืองๆ อย่างไรเล่า?,
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้,
อะรัญญะคะโต วา. ไปแล้วสู่ป่าก็ดี,
รุกขะมูละคะโต วา. ไปแล้วสู่โคนไม้ก็ดี,
สุญญาคาระโต วา. ไปแล้วสู่เรือนว่างเปล่าก็ดี,
นิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิตตะวา. นั่งคู้บัลลังก์,
อุชุ กายัง ปะณิธายะ. ตั้งกายให้ตรง,
ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตตะวา. ดำรงสติเฉพาะหน้า,
โส สะโต วา อัสสะสะติ. เธอย่อมมีสติหายใจเข้า,
สะโต ปัสสะสะติ. ย่อมมีสติหายใจออก,
ทีฆัง วา อัสสะสันโต. เมื่อหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง วา ปัสสะสันโต. หรือเมื่อหายใจออกยาว,
ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว,
รัสสัง วา อัสสะสันโต. เมื่อหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง วา ปัสสะสันโต. หรือเมื่อหายใจออกสั้น,
รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจเข้า,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจออก,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร (คือลมอัสสาสะปัสสาสะ) หายใจเข้า,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจออก,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว ทุกโข ภะมะกาโร วา ภะมะการันเตวาสี วา. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด นายช่างกลึง หรือลูกมือของนายช่างกลึงผู้ฉลาด,
ทีฆัง วา อัญฉันโต ทีฆัง อัญฉามีติ ปะชานาติ. เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่าเราชักเชือกกลึงยาว,
รัสสัง วา อัญฉันโต รัสสัง อัญฉามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อชักเชือกกลึงสั้น ก็รู้ชัดว่า เราชักเชือกกลึงสั้น,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุก็ฉันนั้น นั่นแลฯ,
ทีฆัง วา อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. เมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว,
ทีฆัง วา ปัสสะสันโต ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว,
รัสสัง วา อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ. เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น,
รัสสัง วา ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจเข้า,
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง หายใจออก,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า,
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ. ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับ กายสังขาร หายใจออก,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้แลฯ,
อานาปานะปัพพัง. จบข้อกำหนดด้วยลมหายใจเข้าออก.
๒.อิริยาบถ (ข้อกำหนดการพิจารณาอิริยาบถ)
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีกภิกษุ,
คัจฉันโต วา คัจฉามีติ ปะชานาติ. เมื่อเดินอยู่ ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เราเดิน,
ฐิโต วา ฐิโตมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรายืน,
นิสินโน วา นิสินโนมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรานั่ง,
สะยาโน วา สะยาโนมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรานอน,
ยะถา ยะถา วา ปะนัสสะ กาโย ปะณิหิโต โหติ. อนึ่ง เมื่อเธอนั้น เป็นผู้ตั้งกายไว้แล้วอย่างใดๆ,
ตะถา ตะถา นัมปะชานาติ. ก็ย่อมรู้ชัดอาการกายนั้น อย่างนั้นๆ,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วากาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในบ้างทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้, ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ติดยึดอะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้ฯ,
อิริยาปะถะปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยอิริยาบถ
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีกภิกษุ,
คัจฉันโต วา คัจฉามีติ ปะชานาติ. เมื่อเดินอยู่ ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เราเดิน,
ฐิโต วา ฐิโตมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อยืน ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรายืน,
นิสินโน วา นิสินโนมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรานั่ง,
สะยาโน วา สะยาโนมหีติ ปะชานาติ. หรือเมื่อนอน ก็รู้ชัดว่า (เดี๋ยวนี้) เรานอน,
ยะถา ยะถา วา ปะนัสสะ กาโย ปะณิหิโต โหติ. อนึ่ง เมื่อเธอนั้น เป็นผู้ตั้งกายไว้แล้วอย่างใดๆ,
ตะถา ตะถา นัมปะชานาติ. ก็ย่อมรู้ชัดอาการกายนั้น อย่างนั้นๆ,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วากาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในบ้างทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้, ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ติดยึดอะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้ฯ,
อิริยาปะถะปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยอิริยาบถ
๓. สัมปชัญญะ (ข้อกำหนดการพิจารณาสัมปชัญญะ)
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อะภิกกันเต ปะฏิกกันเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ(ความเป็นผู้รู้ทั่วพร้อม) ในการก้าวไปข้างหน้า และถอยกลับมาข้างหลัง,
อาโลกิเต วิโลกิเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการแลไปข้างหน้า และเหลียวไปข้างซ้าย ข้างขวา,
สัมมิญชิเต ปะสาริเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการคู้อวัยวะเข้า เหยียดอวัยวะออก,
สังฆาฏิ ปัตตะ จีวะระ ธาระเณ สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปะชัญญะ ในการทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร และจีวร,
อะสิเต ปิเต ขายิเต สายิเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการ กิน ดื่ม เคี้ยว และลิ้ม, อุจจาระปัสสาวะ,
กัมเม สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการถ่ายอุจจาระปัสสาวะ,
คะเต ฐิเต นิสินเน สุตเต ชาคะริเต ภาสิเต ตุณหีภาเว สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะในการเดิน ยืน นี่ง หลับ ตื่น พูด และความเป็นผู้นิ่งอยู่,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้,
สัมปะชัญญะปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยสัมปชัญญะ
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อะภิกกันเต ปะฏิกกันเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ(ความเป็นผู้รู้ทั่วพร้อม) ในการก้าวไปข้างหน้า และถอยกลับมาข้างหลัง,
อาโลกิเต วิโลกิเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการแลไปข้างหน้า และเหลียวไปข้างซ้าย ข้างขวา,
สัมมิญชิเต ปะสาริเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการคู้อวัยวะเข้า เหยียดอวัยวะออก,
สังฆาฏิ ปัตตะ จีวะระ ธาระเณ สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปะชัญญะ ในการทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร และจีวร,
อะสิเต ปิเต ขายิเต สายิเต สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการ กิน ดื่ม เคี้ยว และลิ้ม, อุจจาระปัสสาวะ,
กัมเม สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะ ในการถ่ายอุจจาระปัสสาวะ,
คะเต ฐิเต นิสินเน สุตเต ชาคะริเต ภาสิเต ตุณหีภาเว สัมปะชานะการี โหติ. ย่อมเป็นผู้ทำสัมปชัญญะในการเดิน ยืน นี่ง หลับ ตื่น พูด และความเป็นผู้นิ่งอยู่,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้,
สัมปะชัญญะปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยสัมปชัญญะ
๔. ปฏิกูล (ข้อกำหนดการพิจารณาสิ่งเป็นปฏิกูล)
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดโดยรอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
เกสา โลมา นะขา. ผม ขน เล็บ,
ทันตา ตะโจ. ฟัน หนัง,
มังสัง นะหารู. เนื้อ เอ็น,
อัฏฐี อัฏฐีมิญชัง. กระดูก เยื่อในกระดูก,
วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง. ม้าม หัวใจ ตับ,
กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง. พังผืด ไต ปอด,
อันตัง อันตะคุณัง. ไส้ใหญ่ ไส้น้อย (สายรัดไส้ ไส้ทบ),
อุทะริยัง กะรีสัง. อาหารใหม่ อาหารเก่า,
ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ. น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง,
โลหิตัง เสโท เมโท. น้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น,
อัสสุ วะสา เขโฬ. น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย,
สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ. น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด,
อุภะโตมุขา มูโตฬี. ไถ้มีปาก ๒ ข้าง,
ปูรา นานาวิหิตัสสะ ธัญญัสสะ. เต็มด้วยธัญญชาติมีประการต่างๆ,
เสยยะถีทัง. คืออะไรบ้าง,
สาลีนัง วีหีนัง. คือข้าวสาลี ข้าวเปลือก,
มุคคานัง มาสานัง. ถั่วเขียว ถั่วเหลือง,
ติลานัง ตัณฑุลานัง. งา ข้าวสาร,
ตะเมนัง จักขุมา ปุริโส มุญจิตวา. บุรุษมีจักษุแก้ไถ้นั้นออกแล้ว,
ปัจจะเวกเขยยะ. พึงเห็นได้ว่า, อิเม สาลี. เหล่านี้ ข้าวสาลี,
อิเม วีหี. เหล่านี้ ข้าวเปลือก,
อิเม มุคคา. เหล่านี้ ถั่วเขียว,
อิเม มาสา. เหล่านี้ ถั่วเหลือง,
อิเม ติลา. เหล่านี้ งา,
อิเม ตัณฑุลาติ. เหล่านี้ ข้าวสาร,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นนั่นแลภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดโดยรอบ เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่า, อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้, เกสา โลมา นะขา. ผม ขน เล็บ, ทันตา ตะโจ. ฟัน หนัง, มังสัง นะหารู. เนื้อ เอ็น, อัฏฐี อัฏฐีมิญชัง. กระดูก เยื่อในกระดูก, วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง. ม้าม หัวใจ ตับ, กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง. ผังผืด ไต ปอด, อันตัง อันตะคุณัง. ไส้ใหญ่ ไส้น้อย, อุทะริยัง กะรีสัง. อาหารใหม่ อาหารเก่า, ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ. น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง, โลหิตัง เสโท เมโท. น้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น, อัสสุ วะสา เขโฬ. น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย, สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ. น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร, อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้,ฯ
ปะฏิกกูละปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยกายเป็นของปฏิกูล
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดโดยรอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
เกสา โลมา นะขา. ผม ขน เล็บ,
ทันตา ตะโจ. ฟัน หนัง,
มังสัง นะหารู. เนื้อ เอ็น,
อัฏฐี อัฏฐีมิญชัง. กระดูก เยื่อในกระดูก,
วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง. ม้าม หัวใจ ตับ,
กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง. พังผืด ไต ปอด,
อันตัง อันตะคุณัง. ไส้ใหญ่ ไส้น้อย (สายรัดไส้ ไส้ทบ),
อุทะริยัง กะรีสัง. อาหารใหม่ อาหารเก่า,
ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ. น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง,
โลหิตัง เสโท เมโท. น้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น,
อัสสุ วะสา เขโฬ. น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย,
สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ. น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด,
อุภะโตมุขา มูโตฬี. ไถ้มีปาก ๒ ข้าง,
ปูรา นานาวิหิตัสสะ ธัญญัสสะ. เต็มด้วยธัญญชาติมีประการต่างๆ,
เสยยะถีทัง. คืออะไรบ้าง,
สาลีนัง วีหีนัง. คือข้าวสาลี ข้าวเปลือก,
มุคคานัง มาสานัง. ถั่วเขียว ถั่วเหลือง,
ติลานัง ตัณฑุลานัง. งา ข้าวสาร,
ตะเมนัง จักขุมา ปุริโส มุญจิตวา. บุรุษมีจักษุแก้ไถ้นั้นออกแล้ว,
ปัจจะเวกเขยยะ. พึงเห็นได้ว่า, อิเม สาลี. เหล่านี้ ข้าวสาลี,
อิเม วีหี. เหล่านี้ ข้าวเปลือก,
อิเม มุคคา. เหล่านี้ ถั่วเขียว,
อิเม มาสา. เหล่านี้ ถั่วเหลือง,
อิเม ติลา. เหล่านี้ งา,
อิเม ตัณฑุลาติ. เหล่านี้ ข้าวสาร,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นนั่นแลภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายนี้นี่แล เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดโดยรอบ เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่า, อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้, เกสา โลมา นะขา. ผม ขน เล็บ, ทันตา ตะโจ. ฟัน หนัง, มังสัง นะหารู. เนื้อ เอ็น, อัฏฐี อัฏฐีมิญชัง. กระดูก เยื่อในกระดูก, วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง. ม้าม หัวใจ ตับ, กิโลมะกัง ปิหะกัง ปัปผาสัง. ผังผืด ไต ปอด, อันตัง อันตะคุณัง. ไส้ใหญ่ ไส้น้อย, อุทะริยัง กะรีสัง. อาหารใหม่ อาหารเก่า, ปิตตัง เสมหัง ปุพโพ. น้ำดี น้ำเสลด น้ำเหลือง, โลหิตัง เสโท เมโท. น้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำมันข้น, อัสสุ วะสา เขโฬ. น้ำตา น้ำมันเหลว น้ำลาย, สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ. น้ำมูก น้ำไขข้อ น้ำมูตร, อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆ อยู่อย่างนี้,ฯ
ปะฏิกกูละปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยกายเป็นของปฏิกูล
๕. ธาตุ (ข้อกำหนดการพิจารณาธาตุทั้ง ๔)
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
อิมะเมวะ กายัง ยะถาฐิตัง ยะถาปะณิหิตัง ธาตุโส ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากายอันตั้งอยู่ตามที่ตั้งอยู่ตามปกตินี่แล โดยความเป็นธาตุว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ. ธาตุดิน ธาตุน้ำ,
เตโชธาตุ วาโยธาตุ. ธาตุไฟ ธาตุลม,
เสยยะถาปิ ภิกขะเว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ฉันใด,
ทุกโข โคฆาตะโก วา โคฆาตะกันเตวาสี วา. คนฆ่าโค หรือลูกมือของคนฆ่าโคผู้ฉลาด,
คาวิง วะธิตวา. ฆ่าแม่โคแล้ว,
จาตุมมะหาปะเถ วิละโส ปะฏิวิภะชิตตะวา นิสินโน อัสสะ. พึงแบ่งออกเป็นส่วน แล้วนั่งอยู่ที่หนทางใหญ่ ๔ แพร่ง,
เอวะเมวะ โข ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นนั่นแล ภิกษุ,ฯ
อิมะเมวะ กายัง ยะถาฐิตัง ยะถาปะณิหิตัง ธาตุโส ปัจจะเวกขะติ. ย่อมพิจารณากาย อันตั้งอยู่ตามที่ตั้งอยู่ตามปกตินี้นี่แล โดยความเป็นธาตุว่า,
อัตถิ อิมัสสมิง กาเย. มีอยู่ในกายนี้,
ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ. ธาตุดิน ธาตุน้ำ,
เตโชธาตุ วาโยธาตูติ. ธาตุไฟ ธาตุลม,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปะทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้,ฯ
ธาตุปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยธาตุ
๖. ซากศพ (ข้อกำหนดการพิจารณาซากศพ)
๖.๑
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
เอกาหะมะตัง วา. ตายแล้ววันหนึ่ง, ทวีหะมะตัง วา. หรือตายแล้ว ๒วัน,
ตีหะมะตัง วา. หรือตายแล้ว ๓ วัน,
อุทธุมาตะกัง วินีละกัง. อันพองขึ้น สีเขียวน่าเกลียด,
วิปุพพะกะชาตัง. เป็นสีระมีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้นี่เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้แล,
๖.๒
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
กาเกหิ วา ขัชชะมานัง. อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง,
คิชเฌหิ วา ขัชชะมานัง. ฝูงแร้งกินจิกอยู่บ้าง,
กุละเลหิ วา ขัชชะมานัง. ฝูงนกตะกรุมจิกกินอยู่บ้าง,
สุวาเณหิ วา ขัชชะมานัง. หมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง,
สิงคาเลหิ วา ขัชชะมานัง. หมู่สุนัขจิ้งจอกกัดกินอยู่บ้าง,
วิวิเธหิ วา ปาณะกะชาเตหิ ขัชชะมานัง. หมู่สัตว์ตัวเล็กๆ ต่างๆ กัดกินอยู่บ้าง,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้นี่เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๓
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก, สะมังสะโลหิตัง. ยังมีเนื้อและเลือด,
นะหารุสัมพันธัง. อันเส้นเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๔
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก,
นิมมังสะโลหิตัง มักขิตัง. เปื้อนด้วยเลือด แต่ปราศจากเนื้อแล้ว,
นะหารุสัมพันธัง. ยังมีเส้นเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๕
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก,
อะปะคะตะมังสะโลหิตัง. ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว,
นะหารุสัมพันธัง. ยังมีเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้, ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๖
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน) กระดูก,
อะปะคะตะนะหารุสัมพันธานิ. ปราศจากเส้นเอ็นเครื่องรัดรึงแล้ว,
ทิสาวิทิสา วิกขิตตานิ. กระจายไปแล้วในทิศน้อย และทิศใหญ่,
อัญเญนะ หัตถัฏฐิกัง. คือกระดูกมือ(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ปาทัฏฐิกัง. กระดูกเท้า(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะชังฆัฏฐิกัง. กระดูกแข้ง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อูรัฏฐิกัง. กระดูกขา (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ กะกิฏฐิกัง. กระดูกสะเอว (ไปอยู่)ทางอื่น,
อัญเญนะ ปิฏฐิกัณฏะกัฏฐิกัง. กระดูกสันหลัง(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ผาสุกัฏฐิกัง. กระดูกซี่โครง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อุรัฏฐิกัง. กระดูกหน้าอก(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ พาหุฏฐิกัง. กระดูกแขน (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อังสัฏฐิกัง. กระดูกไหล่ (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ คีวัฏฐิกัง. กระดูกคอ (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ หะนุฏฐิกัง. กระดูกคาง(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ทันตัฏฐิกัง. กระดูกฟัง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ สีสะกะฏาหัง. กะโหลกศีรษะ(ไปอยู่) ทางอื่น,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๗
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
เสตานิ สังขะวัณณุปะนิภานิ. มีสีขาวเปรียบด้วยสีสังข์,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า, เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๘
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
ปุญชะกิตานิ. เป็นกองเรี่ยรายแล้ว,
เตโรวัสสิกานิ. มีในภายนอก(เกิน) ปีหนึ่งไปแล้ว,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๙
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
ปูตีนิ จุณณะกะชาตานิ. ผุละเอียดแล้ว,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
นะวะสีวะถิกาปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยป่าช้า ๙ ข้อ
๖.๑
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
เอกาหะมะตัง วา. ตายแล้ววันหนึ่ง, ทวีหะมะตัง วา. หรือตายแล้ว ๒วัน,
ตีหะมะตัง วา. หรือตายแล้ว ๓ วัน,
อุทธุมาตะกัง วินีละกัง. อันพองขึ้น สีเขียวน่าเกลียด,
วิปุพพะกะชาตัง. เป็นสีระมีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้นี่เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้แล,
๖.๒
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
กาเกหิ วา ขัชชะมานัง. อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง,
คิชเฌหิ วา ขัชชะมานัง. ฝูงแร้งกินจิกอยู่บ้าง,
กุละเลหิ วา ขัชชะมานัง. ฝูงนกตะกรุมจิกกินอยู่บ้าง,
สุวาเณหิ วา ขัชชะมานัง. หมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง,
สิงคาเลหิ วา ขัชชะมานัง. หมู่สุนัขจิ้งจอกกัดกินอยู่บ้าง,
วิวิเธหิ วา ปาณะกะชาเตหิ ขัชชะมานัง. หมู่สัตว์ตัวเล็กๆ ต่างๆ กัดกินอยู่บ้าง,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้นี่เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๓
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก, สะมังสะโลหิตัง. ยังมีเนื้อและเลือด,
นะหารุสัมพันธัง. อันเส้นเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๔
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก,
นิมมังสะโลหิตัง มักขิตัง. เปื้อนด้วยเลือด แต่ปราศจากเนื้อแล้ว,
นะหารุสัมพันธัง. ยังมีเส้นเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๕
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิสังขะลิกัง. เป็นร่างกระดูก,
อะปะคะตะมังสะโลหิตัง. ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว,
นะหารุสัมพันธัง. ยังมีเอ็นรัดรึงอยู่,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้, ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๖
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ (ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน) กระดูก,
อะปะคะตะนะหารุสัมพันธานิ. ปราศจากเส้นเอ็นเครื่องรัดรึงแล้ว,
ทิสาวิทิสา วิกขิตตานิ. กระจายไปแล้วในทิศน้อย และทิศใหญ่,
อัญเญนะ หัตถัฏฐิกัง. คือกระดูกมือ(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ปาทัฏฐิกัง. กระดูกเท้า(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะชังฆัฏฐิกัง. กระดูกแข้ง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อูรัฏฐิกัง. กระดูกขา (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ กะกิฏฐิกัง. กระดูกสะเอว (ไปอยู่)ทางอื่น,
อัญเญนะ ปิฏฐิกัณฏะกัฏฐิกัง. กระดูกสันหลัง(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ผาสุกัฏฐิกัง. กระดูกซี่โครง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อุรัฏฐิกัง. กระดูกหน้าอก(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ พาหุฏฐิกัง. กระดูกแขน (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ อังสัฏฐิกัง. กระดูกไหล่ (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ คีวัฏฐิกัง. กระดูกคอ (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ หะนุฏฐิกัง. กระดูกคาง(ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ ทันตัฏฐิกัง. กระดูกฟัง (ไปอยู่) ทางอื่น,
อัญเญนะ สีสะกะฏาหัง. กะโหลกศีรษะ(ไปอยู่) ทางอื่น,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๗
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
เสตานิ สังขะวัณณุปะนิภานิ. มีสีขาวเปรียบด้วยสีสังข์,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า, เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๘
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
ปุญชะกิตานิ. เป็นกองเรี่ยรายแล้ว,
เตโรวัสสิกานิ. มีในภายนอก(เกิน) ปีหนึ่งไปแล้ว,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
๖.๙
ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้ออื่นยังมีอยู่อีก ภิกษุ,
เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง. เหมือนกะว่าจะพึงเห็นสะรีระ(ซากศพ),
สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง. ที่เขาทิ้งไว้แล้วในป่าช้า,
อัฏฐิกานิ. คือเป็น(ท่อน)กระดูก,
ปูตีนิ จุณณะกะชาตานิ. ผุละเอียดแล้ว,
โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ. เธอก็น้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่า,
อะยัมปิ โข กาโย. ถึงร่างกายอันนี้เล่า,
เอวังธัมโม. ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา,
เอวังภาวี. คงเป็นอย่างนี้,
เอวัง อะนะตีโตติ. ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้,
อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดังนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายในบ้าง,
พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย เป็นภายนอกบ้าง,
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง,
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง,
วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือความเสื่อมไปในกายบ้าง,
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัสสมิง วิหะระติ. ย่อมพิจารณาเห็นธรรมดา คือทั้งความเกิดขึ้น ทั้งความเสื่อมไปในกายบ้าง,
อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติปัจจุปัฏฐิตา โหติ. ก็หรือสติว่ากายมีอยู่ เข้าไปตั้งอยู่เฉพาะหน้าแก่เธอนั้น,
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่รู้,
ปะติสสะติมัตตายะ. แต่เพียงสักว่าเป็นที่อาศัยระลึก,
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ. เธอย่อมไม่ติดอยู่ด้วย,
นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. ย่อมไม่ยึดถืออะไรๆในโลกด้วย,
เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายย่อมพิจารณาเห็นกายในกายเนืองๆอยู่อย่างนี้.
นะวะสีวะถิกาปัพพัง จบข้อกำหนดด้วยป่าช้า ๙ ข้อ